Page 10 - TU Weekly วันที่ 3 - 9 กันยายน 65
P. 10

ทีมวิจัยจากภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

                 ทําการวิจัยเกี่ยวกับการใช “แบคทีเรีย” ในการซอมแซมรอยแตกราวในคอนกรีตไดสําเร็จ



                      ทีมวิจัยจากภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทําการวิจัย

               เกี่ยวกับการใช “แบคทีเรีย” ในการซอมแซมรอยแตกราวในคอนกรีตไดสําเร็จ โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.

               ชนะชัย  ทองโฉม ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ใหขอมูลวา ใน

               ภาคอุตสาหกรรมการกอสรางนั้น คอนกรีตเปนโครงสรางที่ใชกันอยางแพรหลาย แตอยางไรก็ตาม คอนกรีต

               สามารถเกิดรอยราวไดจากหลายปจจัย เมื่อเกิดรอยแตกราวก็ทําใหความชื้น สิ่งสกปรก หรือไอออนตาง ๆ
               สามารถซึมผานรอยราวเขาไปได ทําใหโครงสรางเหล็กในคอนกรีตมีปญหาและไมแข็งแรง อาจเปนอันตราย

               ตอผูใชอาคารตามมา ดังนั้นจึงตองซอมแซมรอยแตกราวอยางเรงดวนและตองใชวัสดุที่มีความปลอดภัย

                      ทีมวิจัยไดศึกษาและมองหาวัสดุซอมแซมที่ดีที่สุด โดยพบวัสดุชีวภาพที่นาสนใจและสามารถใชซอม

               รอยแตกราวไดอยางปลอดภัยตอผูอยูอาศัย นั่นคือ การนําเชื้อแบคทีเรีย ชนิด Bacillus subtilis มาเขา

               กระบวนการสลายสารยูเรีย แลวชักนําใหเกิดตะกอน “แคลเซียมคารบอเนต” แลวนําสารตะกอนดังกลาวมา

               ซอมแซมรอยราวได ซึ่งไมเปนอันตรายตอมนุษย อีกทั้งเปนแบคทีเรียชนิดที่สามารถทนทานตอสภาพแวดลอม

               ในประเทศไทยได




























                                                                                                                 Page9
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15