Page 15 - จุลสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 54 ฉบับที่ 4 เดือนเมษายน 2564
P. 15

ปัญหาหนึ่งไม่ว่าคุณจะเป็นเพศใดก็ตามที่พบเจอค่อนข้างบ่อย  การข่มขืนระหว่างสามีภรรยา ก็เป็นการแก้ตามใจความของ
              ในสังคมคือ การล่วงละเมิดทางเพศ โดยอาจารย์สุประวีณ์   อนุสัญญาเช่นเดียวกัน
              ได้ให้ค�าแนะน�าว่า ควรรวบรวมหลักฐานให้ได้มากที่สุด อันนี้
              เป็นปัญหาส�าคัญมาก เพราะเรามีกฎหมายที่รองรับเรื่องนี้  อย่างที่บอกไปว่าความเข้าใจเกี่ยวกับเพศนั้นเปลี่ยนแปลง
              อยู่แล้วประมาณหนึ่ง แต่สุดท้ายกฎหมายไม่สามารถถูกน�า  ได้ตลอดเวลา ดังนั้นแล้วการศึกษากฎหมายกับความเข้าใจ
              ไปใช้งานได้เพราะว่าขาดหลักฐานในการฟ้องร้องตั้งแต่แรก   เรื่องราวเกี่ยวกับเพศจึงมีความส�าคัญมาก  ประเทศไทยยัง
              นอกจากนี้ส�าหรับผู้หญิงที่ต้องการฟ้องร้องในคดีความผิด  ขาดองค์ความรู้ ยังขาดข้อมูลอีกเยอะมากว่าจุดไหนกันแน่
              เกี่ยวกับเพศ ตามประมวลกฎหมายวิธีความพิจารณาความ  ที่ปัญหามันเกิดขึ้น  บางคนอาจจะบอกว่ากฎหมายไทยมันดี
              อาญา บอกชัดเจนว่าผู้หญิงสามารถขอให้มีพนักงานสอบสวนหญิง  อยู่แล้วแค่ข้อบังคับใช้มันยังไม่ดี เป็นเรื่องของปัญหาทาง
              เป็นผู้สอบสวนเรื่องของเราได้ เพราะผู้หญิงบางท่าน  สังคมไม่ใช่ปัญหาทางกฎหมาย ส่วนตัวมองว่าสิ่งที่เราต้อง
              อาจจะไม่อยากเล่าเรื่องราวที่เกิดขึ้นให้กับผู้ชายฟัง และ  ศึกษาตรงไหนกันแน่ที่สังคมกับกฎหมายเจอกัน แล้วก่อให้
              สุดท้ายถ้าหากคุณอายุต�่ากว่า 18 ปี คุณสามารถขอให้มี  เกิดปัญหาบางอย่างที่น�าไปสู่ความไม่เท่าเทียมทางเพศอยู่
              นักสังคมสงเคราะห์ หรือนักจิตวิทยา อยู่กับคุณในระหว่างที่   ประเทศไทยต้องการข้อมูลชี้เฉพาะว่ากระบวนการไหนใน
              มีการสอบสวนได้เช่นเดียวกัน นี่จึงคิดว่าเป็นสิทธิตั้งต้น  การบังคับใช้กฎหมายที่มันมีปัญหา ตั้งแต่การร่างกฎหมาย
              ทั้งหมดที่อยากให้ทุกคนรู้                    เลยหรือเปล่า  หรือว่ามันเกิดขึ้นตอนที่เอาไปบังคับใช้ใน
                                                           ขบวนการของศาลแล้วมีการตีความ มีหลักการของกฎหมาย
              อาจารย์สุประวีณ์ กล่าวเสริมว่า ถ้ามองจากตัวบทกฎหมาย  บางอย่างยังน�าไปสู่ความไม่เท่าเทียมและการเลือกปฏิบัติ
              ที่มี จริง ๆ แล้ว ประเทศไทยเป็นภาคีต่ออนุสัญญาว่าด้วย
              การขจัดการเลือกปฏิบัติทางเพศ มาตั้งแต่ปี 2528 การ  บางอย่างอยู่ ตรงนี้ส่วนตัวมองว่าเรายังไม่มีข้อมูลที่เฉพาะ
              เป็นภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศท�าให้รัฐบาลมีหน้าที่  ที่เราสามารถระบุสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างชัดเจนจนน�าไปสู่
              ต้องท�าการแก้ไขและพัฒนากฎหมายไม่ก่อให้เกิดการเลือก  การตามหาวิธีการแก้ปัญหาที่ตรงจุดได้ เพราะฉะนั้นแล้วสิ่งที่
              ปฏิบัติระหว่างเพศ โดยทางคณะกรรมการของอนุสัญญา  คิดว่าควรจะแก้ไขอย่างจริงจังคือการพยายามมานั่งระดม
              ก็จะท�ารายงานเกี่ยวกับความไม่เท่าเทียมระหว่างเพศใน  ความคิดเพื่อระบุปัญหา และหลังจากนั้นอาจไปลองศึกษา
              ประเทศไทยออกมาพร้อมกับมีข้อแนะน�าให้ประเทศไทย  วิธีการของต่างประเทศว่าเขาแก้ไขยังไงแล้วน�ามาพัฒนา
              เอาไปแก้ปรับใช้ ซึ่งประเทศไทยก็พยายามแก้กฎหมาย  ต่อยอดเพื่อปรับใช้กับการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในประเทศไทย
              มาตลอด เช่น การแก้กฎหมายข่มขืน โดยการยกเลิกข้อยกเว้น  ของเรา อาจารย์สุประวีณ์ กล่าวทิ้งท้าย









































                                                                                     P erspectiv es  15
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20