Page 4 - จุลสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 55 ฉบับที่ 4 เดือนพฤษภาคม 2565
P. 4

รศ.นพ.กัมมาล กุมาร ปาวา  ดร.คณิศ แสงสุพรรณ
                                รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร   เลขาธิการคณะกรรมการ
                                ศูนย์พัทยา กล่าวว่า การดําเนิน  นโยบายเขตพัฒนาพิเศษ
                                โครงการ EECmd          ภาคตะวันออก (EEC)
                                มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  กล่าวว่า พื้นที่ EECmd
                                ศูนย์พัทยา จัดแบ่งพื้นที่  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
                                เป็น 4 โซนหลัก ได้แก่ ด้าน  ศูนย์พัทยา เป็นหนึ่งในเขต
                                การศึกษา ด้านส่งเสริม  พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
                                เศรษฐกิจ ด้านบริการ และ  หรือ EEC ที่มีศักยภาพสูง
                                ด้านที่พักอาศัย ภายในพื้นที่  ในการยกระดับประเทศไทย
         มีแผนการพัฒนาโครงสร้างต่าง ๆ มากมาย อาทิ สถาบันวิจัย  ไปสู่ระบบเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) ขับเคลื่อน
         การแพทย์ชั้นสูง, โรงพยาบาลดิจิทัล, ศูนย์ดูแลสุขภาพ   นวัตกรรมธุรกิจ Health and Wellbeing ซึ่งถือเป็น 1 ใน
         (Wellness Health Resort), ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (Senior  12 อุตสาหกรรมเป้าหมายของ EEC สอดคล้องกับนโยบาย
         Living) และศูนย์กีฬาขนาดใหญ่ (Sport Complex)  รัฐบาลที่ต้องการผลักดันประเทศไทยเป็น Medical Hub
          เชื่อมต่อการลงทุนกลุ่ม Health Tech ชั้นนําระดับโลก
                                                       ดังนั้น EECmd จัดเป็นพื้นที่รองรับการลงทุนที่สมบูรณ์แบบ
          ซึ่งขณะนี้มีผู้สนใจได้ติดต่อเข้ามาเป็นจํานวนมาก นักลงทุน  น่าสนใจ มีความพร้อม ด้านสาธารณูปโภค และโครงสร้างพื้นฐาน
          จะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีเป็นเวลา 11-13 ปี และ  ซึ่ง EEC ได้ผลักดันให้เกิดการลงทุนกว่า 2.2 ล้านล้านบาท
         การนําเข้าผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศมาพักอาศัยอยู่ใน   ในพื้นที่ภาคตะวันออก อาทิ รถไฟความเร็วสูง เชื่อม 3 สนามบิน,
         ประเทศไทย เป็นต้น โดยมีสํานักงานคณะกรรมการนโยบาย  สนามบินนานาชาติอู่ตะเภา, การขยายท่าเรือแหลมฉบัง
         เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) ร่วมสนับสนุน   ระยะที่ 3 และท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ 3 ฯลฯ
         พร้อมด้วยองค์กรพันธมิตรด้านสาธารณสุขที่มองเห็นศักยภาพและ  ดังนั้น การลงนาม MOU ครั้งนี้ จึงเป็นการหลอมรวมพลังและ
         โอกาสใหม่ ๆ มุ่งสู่เป้าหมายของการเป็น Medical Hub   บูรณาการความร่วมมือของทุกภาคส่วน ทุกมิติ เพื่อสร้าง
         ในภูมิภาค และสร้าง Medical Valley ให้เกิดขึ้นจริงใน  เม็ดเงินลงทุนใหม่หมุนเวียนสู่เศรษฐกิจการถ่ายทอดเทคโนโลยี
         ประเทศไทย                                     การต่อยอดผลิตภัณฑ์และใช้บริการของชาวต่างชาติได้
                                                       ในอนาคต










































           4   Co v er St or y
   1   2   3   4   5   6   7   8   9