Page 10 - อัฏฐธัมมปริทัศน์
P. 10
บพิตร และเปYนพระโอวาทประทานแก*พุทธศาสนิกชนชาวไทยเพื่อเปYนที่พึ่ง
สําหรับการประพฤติปฏิบัติตน อันจะเปYนส*วนสําคัญในการร*วมสร:างสังคมที่
สงบสุขและสถาวรต*อไป
ธรรมราชากับแนวคิดเรื่องทศพิธราชธรรม
ธรรมราชาเปYนแนวคิดหนึ่งซึ่งสัมพันธ กับแนวคิดด:านการเมือง
การปกครอง หากพิจารณาตามรูปคํา “ธรรมราชา” หมายถึง พระเจ:าแผ*นดิน
ผู:ทรงธรรมและทรงปกครองโดยธรรม มีจุดหมายเพื่อให:คนในรัฐยึดถือธรรม
เปYนหลักในการดําเนินชีวิต และเปYนจุดหมายของชีวิต (ปรีชา ช:างขวัญยืน,
๒๕๕๙, น. ๒๐๐) ธรรมราชาจึงสัมพันธ กับบทบาทของพระมหากษัตริย ใน
ฐานะผู:ปกครอง หากพระมหากษัตริย กอปรด:วยธรรมอันควรปฏิบัติอย*าง
เปXjยมล:นและดําเนินพระจริยวัตรอย*างงดงามตามครรลอง ย*อมจะนํามาซึ่ง
ความผาสุกร*มเย็นของพสกนิกรผู:อยู*ใต:ร*มพระบารมี
ธรรมราชานี้ยังเปYนหนึ่งในความคิดเรื่องการเฉลิมพระเกียรติ
พระมหากษัตริย ในสังคมไทยอีกด:วย ชลดา เรืองรักษ ลิขิต (๒๕๔๙, น. ๑๕)
ได:เสนอไว:ว*าโดยทั่วไปแล:วความคิดในการเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริย
จะปรากฏ ๓ ความคิดหลัก ได:แก* ความคิดเรื่องสมมุติราชาหรือสมมุติเทวราช
ความคิดนี้เปYนแนวคิดที่แสดงให:เห็นการยกย*องว*าพระมหากษัตริย ทรงเปYน
สมมุติเทพ ความคิดที่สองคือ ความคิดเรื่องธรรมราชา เปYนแนวคิดที่ยกย*อง
พระมหากษัตริย ว*าเปYนผู:ทรงคุณธรรมอันสูงส*ง และความคิดสุดท:ายคือ
ความคิดเรื่องพุทธราชา เปYนแนวคิดที่ยกย*องว*าพระมหากษัตริย ทรงเปYน
พระพุทธเจ:าหรือกําลังบําเพ็ญบารมีเพื่อจะได:เปYนพระพุทธเจ:าต*อไปใน
อนาคต ความคิดหลักทั้งสามความคิดซึ่ง ชลดา เรืองรักษ ลิขิต ได:กล*าวถึงไว:นี้
แสดงให:เห็นถึงการให:เกียรติและยกย*องพระมหากษัตริย ในสังคมไทย มีส*วน
ช*วยในการกํากับกรอบพระจริยวัตรเพื่อการดํารงตนของผู:ปกครองใน
สังคมไทย ความคิดเรื่องธรรมราชาจึงเปYนหนึ่งในความคิดสําคัญซึ่งช*วย
ขับเน:นสถานะ บทบาท และความสําคัญของพระมหากษัตริย ในสังคมไทย
ด:วยเช*นกัน
9