Page 8 - TU Weekly วันที่ 26 พฤศจิกายน - 2 ธันวาคม 65
P. 8

SIIT ปรับหลักสูตรใหม ‘การวิเคราะหธุรกิจฯ’

                                สรางทักษะนักบริหาร ตอบโจทย ‘อุตสาหกรรมไทย-ตปท.’



                                                           รศ.ดร.ชวลิต จีนอนันต รองผูอํานวยการฝายวิชาการ

                                                        ส ถ าบัน เท ค โ น โ ล ยีน าน าช าติสิริ น ธ ร   ( SIIT)

                                                        มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปดเผยวา โลกของธุรกิจนั้นมี

                                                        การปรับตัวและเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ไมวาจะเปนใน

                                                        เรื่องของเทคโนโลยี ระบบการตลาด หรือแนวโนมความ

                                                        ตองการใหมๆ ในขณะที่ระบบการศึกษาเองก็ไดรับอิทธิพล

               จากการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอยางยิ่งภายหลังสถานการณโควิด-19 ที่ทําใหรูปแบบการเรียนการสอน การ
               หาความรูของนักเรียน นักศึกษา ลวนมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น จึงเปนความสําคัญที่ทําให

               สถาบันการศึกษาจําเปนจะตองมีการปรับตัวใหเทาทันกับความเปลี่ยนแปลงตาง ๆ

                      รศ.ดร.ชวลิต กลาววา ในสวนของ SIIT ซึ่งเปนสถาบันการศึกษาดานวิศวกรรมและดานการจัดการ

               อินเตอร ที่มุงเนนในเรื่องของเทคโนโลยี จึงตองมีการพัฒนาหลักสูตรที่สอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของโลก

               และความตองการของตลาดอยางตอเนื่อง โดยลาสุดไดมีการปรับปรุงหลักสูตรใหมในชื่อ การวิเคราะหธุรกิจ

               และโซอุปทาน หรือ Business and Supply Chain Analytics (BA) พรอมปรับเนื้อหาใหมใหสอดคลองกับ

               สถานการณปจจุบันมากยิ่งขึ้น

                      สําหรับหลักสูตร BA ที่ปรับปรุงใหมนี้ จะเปนการเรียนการสอนที่มุงใหเกิดการมองภาพธุรกิจตลอด

               ทั้งหวงโซอุปทาน ชวยใหเกิดทักษะการคิดวิเคราะหที่นําไปสูการวางกลยุทธและการตัดสินใจ บนพื้นฐานของ
               ศาสตรการใชขอมูล (Data Science) ตลอดจนเทคนิคดาน

               ขอมูลตาง ๆ ไมวาจะเปนการวิเคราะหทางสถิติ การแปลง

               ขอมูลเปนภาพ (Data Visualization) ไปจนถึงการใช

               ปญญาประดิษฐ (AI) เครื่องมือการประมวลผล (Machine

               Learning) เปนตน ซึ่งเปนศาสตรที่สําคัญและจําเปนมาก

               ยิ่งขึ้นสําหรับโลกธุรกิจในปจจุบัน




                                                                                               7 | P a ge
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13