Page 5 - จุลสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 54 ฉบับที่ 4 เดือนเมษายน 2564
P. 5

ขณะเดียวกัน หอจดหมายเหตุฯ ยังได้รับการจัดสรรพื้นที่  ผมก็เข้าใจว่าอาจารย์ป๋วยก็น�าวิธีการแบบนี้มาใช้ในการ
              ภายในอาคารอุทยานเรียนรู้ป๋วย  100  ปี  เพื่อจัดตั้งเป็น  ท�างาน โดยให้ผู้ร่วมงานแต่ละคนต้องมีบรรยากาศของ
              ส�านักงานและสถานที่ให้บริการ โดยมีการออกแบบ ตกแต่ง   การโต้เถียงโต้แย้ง แล้วค่อยหาความคิดสรุป ถ้ามองในแง่
              และสร้างบรรยากาศให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ซึ่งหนึ่งในพื้นที่   แบบไทย ๆ อาจารย์ป๋วยคือ
              ที่น่าสนใจภายในหอจดหมายเหตุ คือ นิทรรศการ “สามัญชน  ประหลาด เพราะคนไทยถ้า
              คนชื่อ ‘ป๋วย’ ชีวิต ความคิด และผลงาน” ที่ได้จัดท�าออกมา  เถียงคือเอาชนะ หรือว่าโชว์
              ในสองรูปแบบคือ นิทรรศการถาวร และนิทรรศการเสมือน  ว่าใครฉลาดกว่า แต่ส�าหรับ
              เพื่อระลึกถึงคุณงามความดีของท่าน ผู้ริเริ่มและบุกเบิก  อาจารย์ป๋วยไม่ใช่ การโต้แย้ง
              การขยายมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มายังศูนย์รังสิต   หรือโต้เถียงคือ การพูดและฟัง
                                                           เพื่อให้ได้เห็นแนวคิดของ
              ทั้งนี้ ผู้ที่สนใจสามารถอ่านจุลสารหอจดหมายเหตุฯ หนังสือ   คนอื่นว่าเขาคิดอย่างไรจะได้
              คลังภาพ โปสเตอร์ และชมนิทรรศการออนไลน์ได้ทางเว็บไซต์  น�าความคิดนั้นมาปรับใช้ให้เกิด
              ของหอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ที่ http://  ประโยชน์สูงสุด
              archives.library.tu.ac.th/ และในขณะนี้หอจดหมายเหตุฯ
              ก�าลังด�าเนินการน�าเอกสารที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัย  “ผมคิดว่าอาจารย์ป๋วยเป็นคนที่มีความคิดและท�างานเป็น
              ธรรมศาสตร์แปลงให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล (PDF)   ระบบ ถ้าจะบรรยายหรือเล่าอะไรให้เป็นระบบ ต้องท�าสิ่งที่
              เพื่อความสะดวกในการใช้งานและอนุรักษ์เอกสารไว้เพื่อ  เรียกว่าสรุปความคิดให้เป็นหลักเป็นข้อให้ได้ในลักษณะทั่วไป
              การศึกษาค้นคว้าในล�าดับต่อไป                 ภาษาวิชาการเราเรียกว่า conceptualization
                                                           การสร้างมโนทัศน์หรือความคิดที่เป็นระบบ ผมคิดว่าเป็นสิ่งที่
              และในวันที่ 10 มีนาคม  2564  คณะเศรษฐศาสตร์   นักวิชาการไทยท�าน้อยและไม่ค่อยได้ท�า เพราะมันไม่ได้อยู่ใน
              มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  จัดเสวนาเรื่อง  “คุยกันเรื่อง  จารีตในการศึกษาแบบไทย แต่อาจารย์ป๋วยท�าได้”
              อาจารย์ป๋วย” ณ ห้องประชุมใหญ่ ชั้น 5 คณะเศรษฐศาสตร์
              มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  ท่าพระจันทร์  ร่วมเสวนาโดย   ศ.ดร.ธเนศ กล่าวเสริมว่า เวลาอาจารย์ป๋วยพูดเรื่องคนจะ
              ศ.รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ ศ.ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ คุณกษิดิศ   พูดด้วยมิติสังคมทั้งนั้นเลย จะไม่มีคนที่สามารถอยู่ได้อย่าง
              อนันทนาธร และด�าเนินรายการโดย อาจารย์อิสร์กุล อุณหเกตุ  สันโดษ เพราะมนุษย์จะต้องอยู่กับผู้อื่นเสมอ อาจารย์ป๋วย
                                                           จึงอยู่กับคนอื่นมาตลอด ไม่ได้คิดว่าอยู่ตัวคนเดียวได้ ท�าให้
              ความตอนหนึ่งจากการเสวนา “คุยกันเรื่องอาจารย์ป๋วย”   คนที่ร่วมงานกับท่านทุกคนเห็นพ้องต้องกันว่า ท่านเป็นคน
              ศ.ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ อดีตคณบดีคณะศิลปศาสตร์   ที่มีความเมตตากรุณาสูง เวลาอยู่กับผู้ใหญ่ก็มีความเคารพ
              มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า บรรยากาศของ London  นบนอบ เวลาอยู่กับผู้น้อยก็มีความเมตตาเอ็นดู ยิ่งเก่งยิ่งต้อง
              School of Economics ในตอนนั้น เป็นเวทีลานต่อสู้   อยู่กับคนอื่นให้มากเท่านั้น
              ทางความคิดกันมาตลอด ตั้งแต่ปรัชญาสมัยใหม่เกิดขึ้น































                                                                                      Co v er St or y  5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10