Page 9 - จุลสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 54 ฉบับที่ 4 เดือนเมษายน 2564
P. 9

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ส�านักงาน  รศ.ดร.อรุณพร อิฐรัตน์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
              เขตสุขภาพที่ 5 และโรงพยาบาลราชบุรี ได้ร่วมกับ คณะ  ธรรมศาสตร์ เจ้าของรางวัล “เสม อวอร์ด 2562” ประเภท
              แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการจัดท�า  การวิจัยและส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชน มูลนิธิหมอเสม
              หลักสูตรต้นแบบแพทย์แผนไทยคลินิกมหาบัณฑิตแห่งแรก  พริ้งพวงแก้ว ในฐานะผู้ผลักดันหลักสูตรน�าร่องฯ กล่าวว่า
              ของประเทศไทย                                 โรงพยาบาลราชบุรีเป็นโรงพยาบาลขนาดใหญ่ที่มีฐานทุน
                                                           ทางด้านแพทย์แผนไทยที่ดีมาก ผู้บริหารของโรงพยาบาลมี
              ส�าหรับการจัดท�าหลักสูตรดังกล่าว อยู่ภายใต้การลงนาม  วิสัยทัศน์และให้ความส�าคัญกับการแพทย์แผนไทยมาโดย
              บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ “การน�าร่องพัฒนารูปแบบ  ตลอด ซึ่งในอนาคตโรงพยาบาลราชบุรีจะยกระดับเป็นศูนย์
              การจัดการศึกษาทางคลินิกส�าหรับวิชาชีพแพทย์แผนไทย เพื่อ  ความเป็นเลิศด้านแพทย์แผนไทยของประเทศไทยด้วย ฉะนั้น
              รองรับการปฏิบัติงานในหน่วยบริการสุขภาพระดับตติยภูมิ”   ความร่วมมือกับโรงพยาบาลราชบุรีในครั้งนี้ จะยิ่งต่อยอด
              เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2564 ระหว่าง 4 หน่วยงาน ประกอบ  ให้หลักสูตรน�าร่องฯ มีความสมบูรณ์ในทุกมิติ ที่ส�าคัญคือ
              ด้วย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรมการแพทย์แผนไทยฯ   ผู้ที่เข้ามาเรียนจะได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และฝึกปฏิบัติจาก
              ส�านักงานเขตสุขภาพที่ 5 และโรงพยาบาลราชบุรี   หน้างานจริงอย่างครบถ้วน

              รศ.เกศินี กล่าวว่า หลักสูตรต้นแบบแพทย์แผนไทยคลินิก  พญ.อัมพร เบญจพลพิทักษ์ อธิบดีกรมการแพทย์
              มหาบัณฑิตที่จะจัดท�าขึ้นเป็นโครงการน�าร่องแห่งแรกของ  แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กล่าวว่า ความร่วมมือใน
              ประเทศไทยนั้น จะช่วยส่งเสริมการผลิตบุคลากรในสาย  ครั้งนี้จะท�าให้เกิดผลผลิตที่เป็นบุคลากรแพทย์แผนไทยที่มี
              สาธารณสุขที่สามารถบูรณาการองค์ความรู้ระหว่างแพทย์  ความรู้ความสามารถในการดูแลผู้ป่วย และจะเป็นการน�าร่อง
              แผนไทยกับแพทย์แผนปัจจุบันได้ ที่ส�าคัญก็คือจะเน้นไปที่  ให้กับมหาวิทยาลัยหลายแห่งในการพัฒนาระบบการศึกษา
              การฝึกทักษะชั้นสูงส�าหรับปฏิบัติหน้าที่ในโรงพยาบาลขนาด  แพทย์แผนไทยต่อไป ซึ่งถือเป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
              ใหญ่ หรือตติยภูมิ                            ของระบบสาธารณสุขและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน

              “สามารถพูดได้ว่าเป็นการผลิตแพทย์แผนไทยแนวใหม่ที่  อนึ่ง ผู้ที่ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ การน�าร่อง
              สามารถท�างานร่วมกับสหวิชาชีพ ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ  พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาฯ ได้แก่ พญ.อัมพร เบญจพลพิทักษ์
              และมีทักษะที่จะพัฒนาองค์ความรู้ไปสู่การจัดท�างานวิจัย  อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก นพ.ธนรักษ์
              แพทย์แผนไทยเชิงประจักษ์ทางคลินิกได้อีกด้วย”  รศ.เกศินี   ผลิพัฒน์  ผู้ตรวจราชการ สธ. เขตสุขภาพที่ 5 นพ.วิเชียร
              กล่าว                                        วุฒิสถิรภิญโญ ผู้อ�านวยการโรงพยาบาลราชบุรี และ รศ.เกศินี
                                                           วิฑูรชาติ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์







































                                                                                       NewsBites   9
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14