Page 10 - จุลสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 54 ฉบับที่ 6 เดือนมิถุนายน 2564
P. 10

เคยเป็นไหม?


               นอนไม่หลับ ตื่นกลางดึกบ่อย ๆ


               อาการแบบไหนที่ควรมาพบหมอ!





              นอนพลิกไปพลิกมา กระสับกระส่าย เปลี่ยนท่านอนก็แล้ว จัด  และ “ระบบสะสมความง่วง (Homeostasis process)”
              หมอนใหม่ก็แล้ว จะหลับก็ไม่หลับสักที สมองคิดเรื่องนู้นนี่อยู่  หมายถึงเวลาตื่นอยู่ ร่างกายจะเริ่มสะสมความง่วงจนได้ที่
              ตลอดเวลา… แล้วแบบนี้จะได้นอนไหมเนี่ย?        ก็จะต้องการการนอนหลับ เมื่อได้นอนหลับพักผ่อน
                                                           ความต้องการนอนหลับก็จะลดลง นอกจากนั้นการนอนยัง
                                    เชื่อว่าหลาย ๆ คนต้อง  มีหลายระดับ คือ “หลับลึกกับหลับตื้น” ช่วงต้นของคืนจะ
                                    เคยประสบ กั บ ปั ญหา    หลับลึกมากกว่าหลับตื้น ส่วนปลายคืนจะหลับตื้นมากกว่า
                                    “อาการนอนไม่หลับ” อย่าง  หลับลึก ถ้าเราหลับได้ตามวงจร ร่างกายก็จะได้พักผ่อนอย่าง
                                    แน่นอน  วันนี้จะขอพาทุก  เต็มที่ แต่ละคนจะมีระบบการนอนกับระดับการนอนแตกต่าง
                                    คนมาไขปัญหาให้หาย      กัน จึงดูเหมือนหลับเร็วหรือหลับช้า หรือต้องการชั่วโมงการ
                                    ข้องใจกับ  รศ.พญ.วินิทรา   นอนไม่เท่ากัน โดยจํานวนชั่วโมงขึ้นกับหลายปัจจัย เช่น อายุ
                                    นวลละออง อาจารย์ประจ�า  เด็ก ๆ จะต้องการชั่วโมงการนอนมากกว่าผู้ใหญ่ ส่วนใหญ่ก็
                                    ภาควิชาจิตเวชศาสตร์    อยู่ราว 7-9 ชั่วโมงต่อคืน
                                    คณะแพทยศาสต ร์
                                    มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  อาการนอนไม่หลับแบบไหน  ที�  Toxic  เป็นอันตรายต่อ
                                    ที่ว่าอาการนอนไม่หลับ  สุขภาพ
              มันเกิดขึ้นได้อย่างไร และวิธีแก้อาการนอนไม่หลับ เราควร
              จะทําอย่างไรบ้าง                             สังเกตง่าย ๆ ว่านอนพอหรือไม่ด้วยการดูว่ามีง่วงระหว่าง
                                                           วันหรือไม่ ถ้าหาวทั้งวัน งีบหลับเป็นช่วง ๆ ทําอะไรก็ไม่มี
              ท�าไมบางคนนอนหลับยาก บางคนนอนหลับง่าย สาเหตุ  สมาธิ แสดงว่านอนไม่พอซึ่งอาจจะเกิดจากคุณภาพหรือเวลา
              มาจากอะไร                                    การนอนไม่พอก็ได้ ต้องหาสาเหตุต่อไป ซึ่งการนอนหลับไม่
                                                           เพียงพอมีผลเสียต่อสุขภาพร่างกายหลายอย่าง เช่น
              การนอนหลับของแต่ละคนขึ้นอยู่กับกลไก 2 ระบบ คือ
              “ระบบนาฬิกาชีวิต (Circadian process)” จะควบคุม  • ง่วงตลอดเวลาพร้อมหลับแต่พอนอนก็จะนอนหลับไม่สนิท
              การหลับตื่นผ่านฮอร์โมน อุณหภูมิร่างกาย และระบบประสาท    ตื่นง่าย
              อัตโนมัติ ทําให้มีวงจรการนอนอยู่ประมาณ 24.2 ชั่วโมง  • กระสับกระส่าย ไม่สบายตัวต้องยุกยิก
              ดังนั้นจะถูกควบคุมจากปัจจัยภายนอกคือ แสง การรับ  • ตัดสินใจแย่ลง ก็จะมีปัญหาเช่นเวลาขับรถ
              ประทานอาหาร การออกกําลังกาย และฮอร์โมน melatonin   • สมาธิสั้น ทําอะไรนิดเดียวก็จะหลุดไปคิดเรื่องอื่น หรือเหม่อ



              10   P erspectiv es
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15