Page 7 - จุลสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 54 ฉบับที่ 6 เดือนมิถุนายน 2564
P. 7

ใหม่ ๆ มาพัฒนาต่อยอดเป็นแนวคิดและนวัตกรรมที่สามารถ  ศ.ดร .ทพ ญ. ศิ ริ วร ร ณ
              ตอบโจทย์โลกในอนาคต ตามกลยุทธ์ที่มหาวิทยาลัยตั้ง  สืบนุการณ์ รองอธิการบดี
              ไว้คือ Future Workforce ควบคู่ไปกับการขับเคลื่อน  ฝ่่ายวิจัยและนวัตกรรม
              มหาวิทยาลัยในทุกมิติ                         มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
                                                           กล่าวว่า งานวิจัยนวัตกรรม
              โดยรางวัลที่ได้รับประกอบด้วย รางวัลเหรียญเงิน (Silver   มีความสําคัญต่อการพัฒนา
              Medal) จํานวน 3 รางวัล และเหรียญทองแดง (Bronze   ประเทศไทย พระราชบัญญัติ
              Medal) จํานวน 2 รางวัล ได้แก่                การอุดมศึกษา พ.ศ. 2562
                                                           กําหนดให้มหาวิทยาลัยมี
              รางวัลเหรียญเงิน                             หน้าที่ทําวิจัยและสร้างนวัตกรรม เร่งให้มหาวิทยาลัยผลิต
                                                           ผลงานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อความงอกเงยทางวิชาการ
                              1. ระบบระบุต�าแหน่งลิ�มเลือดใน  และใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์โดยร่วมมือกับภาคเอกชน
                              สมองโดยอัตโนมัติบนภาพ NCCT   และอนุญาตให้มหาวิทยาลัยตั้งบริษัทเพื่อผลงานวิจัยและ
                              ของผูู้�ป่วยโรคหลอดเลือด (Middle   นวัตกรรมที่ผลิตขึ้นไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
                              Cerebral Artery) อุดตันในระยะ
                              เฉีียบพลัน (Automatic thrombus  “เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไปสู่มหาวิทยาลัยวิจัย
                              localization system on NCCT   ระดับแนวหน้า กลยุทธ์ที่สําคัญคือส่งเสริมให้อาจารย์ผลิต
                              for ais stroke patient (Middle   นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ในเชิงรุก คือการจัดให้มีกองทุน
                              cerebral artery)) โดย ดร.ณัฐสุดา  พัฒนานวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ให้การสนับสนุนอาจารย์
                              เกาทัณฑ์ทอง สถาบันเทคโนโลยี  ที่มีประสบการณ์และผลงานแล้ว และอาจารย์ที่มีศักยภาพ
                              นานาชาติสิรินธร (SIIT)       และมีความประสงค์เริ่มงานด้านพัฒนานวัตกรรมและ
                                                           สิ่งประดิษฐ์ สนับสนุนการยื่นจดสิทธิบัตรส่งเสริมให้ต่อยอด
                              2. ผู้ลิตภัณฑ์เซรั�มและไมเซร่า  ผลงานไปสู่ Startup และ Smart SME” ศ.ดร.ทพญ.ศิริวรรณ
                              ช�าระเครื�องส�าอางจากสารสกัดใบ  กล่าวทิ้งท้าย
                              ไผู้่ซางหม่นนวลราชินี (Serum of
                              bamboo extract for sensitive  สําหรับงาน The 48th International Exhibition of
                              skin)  โดย  ผศ.ดร.สุภกร  บุญยืน  Inventions Geneva ในปีนี้จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 48  ซึ่งเป็น
                              คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี   งานที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลสวิตฯ อาทิ The Swiss
                                                           Federal Government of the State และ The City
                              3. อุปกรณ์การสอนกายภาพบ�าบัด  of Geneva และองค์การทรัพย์สินทางปัญญาแห่งโลก
                              ทรวงอกในทารก (Infant respiratory  หรือ The World Intellectual Property Organization
                              care–simulation for nursing   (WIPO) และสหพันธ์สมาคมนักประดิษฐ์นานาชาติ หรือ
                              education) โดย อาจารย์สุภาวดี  International Federation of Inventors' Associations
                              ทับกลํ่า คณะพยาบาลศาสตร์     (IFIA) เป็นเวทีการประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม
                                                           ระดับนานาชาติที่สําคัญในทวีปยุโรป โดยมีนักวิจัย/
                                                           นักประดิษฐ์จากทั่วโลกนําผลงานเข้าประกวดและจัดแสดงใน
              รางวัลเหรียญทองแดง                           งานจํานวนกว่า 600 ผลงาน จากกว่า 20 ประเทศทั่วโลก

                              1 . อุป ก ร ณ์ตรว จ วัด มุมการ
                              เปลี�ยนแปลงการทรงตัวและแจ�งเตือน
                              ก่อนสูญเสียการทรงตัว (Postural   รายละเอียด
                              sway meter :  a  new developed  ผลงานนวัตกรรม
                              accelerometry based device)
                              โดย รศ.ดร.ไพลวรรณ  สัทธานนท์
                              คณะสหเวชศาสตร์

                              2. เครื�องฆ่่าเชื้อโรคอัจฉีริยะส�าหรับ
                              ฆ่่าเชื้อโรคที�ติดมากับเมล็ดพันธุ์พืช
                              และธัญพืช  (Smart automatic
                              machine for pathogen-free
                              seeds and grains) โดย รศ.ดร.
                              ดุสิต อธินุวัฒน์ คณะวิทยาศาสตร์และ
                              เทคโนโลยี

                                                                                       NewsBites   7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12