Page 3 - จุลสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 54 ฉบับที่ 7 เดือนกรกฎาคม 2564
P. 3

ผุดคู่มือสนับสนุนจิตใจ-จิตสังคม เด็กและครอบครัว ช่วงโควิด-19
 นิติศาสตร์ หารือกับ สถาบันอนุญาโตตุลาการ สำานักงานศาลยุติธรรม  87 ปี ‘มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์’
 CICM จับมือ CENTRAL LAB THAI
 พัฒนาทันตกรรมดิจิทัล  โควิด-19 บทพิสูจน์ ‘มหาวิทยาลัยเพื่อประชาชน’
 EconTU Symposium ครั้งที่ 43
 บันทึกธรรมศาสตร์ ประจำาปี 2564

              มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถือก�าเนิดขึ้นครั้งแรกในชื่อ   ได้เห็นถึงปณิธาน อุดมการณ์ และประสบการณ์ ในฐานะที่
              “มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” เมื่อวันที่   เป็น “มหาวิทยาลัยเพื่อประชาชน” ซึ่งจะอยู่คู่กับประชาชน
              27 มิถุนายน 2477 ตามแนวคิดของ ศ.ดร.ปรีดี พนมยงค์  และประเทศไทยสืบต่อไป
              ที่ต้องการสถาปนามหาวิทยาลัยที่เน้นไปที่การเรียนการสอน
              เรื่อง “ประชาธิปไตย” ภายหลังเกิดการเปลี่ยนแปลง  “นักศึกษาของธรรมศาสตร์ได้รับการปลูกฝังให้คิดถึง
              การปกครองเมื่อสองปีก่อนหน้า                  ประชาชน และท�าประโยชน์เพื่อสังคมเสมอ ในสถานการณ์
                                                           ที่ทุกคนทั่วโลกได้รับผลกระทบไม่ต่างกัน ในชั้นแรกผู้คนอาจ
              มีการตั้งค�าถามกันมากถึงสาเหตุที่อาจารย์ปรีดีเลือกที่จะ  คิดถึงตัวเองเป็นหลัก แต่ด้วยจิตส�านึกและคุณธรรมที่ได้รับ
              สถาปนามหาวิทยาลัยขึ้นในวันที่ 27 มิถุนายน แทนที่จะเป็น  การปลูกฝัง เชื่อว่าชาวธรรมศาสตร์จะคิดถึงการแบ่งปัน
              วันที่ 24 มิถุนายน ซึ่งตรงกับวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง   การให้ความช่วยเหลือผู้ที่ทุกข์ยาก และท�าตามอุดมการณ์ที่
              (24 มิถุนายน 2475) โดยมีการบันทึกเหตุผลของ ศ.ดร.ปรีดี  หล่อหลอมความเป็นธรรมศาสตร์เสมอมา” ศาสตราจารย์พิเศษ
              ไว้ว่า อาจารย์ปรีดีไม่ได้ต้องการที่จะยกย่องตนเองและ  นรนิติ ระบุ
              พวกพ้องที่เปลี่ยนแปลงการปกครอง แต่ประสงค์จะยกย่อง
              ประชาชนที่ได้กลายเป็นเจ้าของประเทศ           รศ.เกศินี วิฑูรชาติ อธิการบดี
                                                           มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
              วันที่ 27 มิถุนายน 2475 เป็นวันที่พระราชาทรงมอบ  กล่าวว่า ตลอด 87 ปีที่ผ่านมา
              อ�านาจสูงสุดของประเทศให้กับราษฎรทั้งหลาย ด้วยการลง  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้
              พระปรมาภิไธยประกาศใช้ “รัฐธรรมนูญฉบับแรก” ถัดจากนั้น   ด�ารงตนอยู่ในฐานะสถาบัน
              อีกสองปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จึงก่อก�าเนิดขึ้น และ  การศึกษาชั้นน�าของประเทศไทย
              สามารถข้ามผ่านกาลเวลาอยู่บนหน้าประวัติศาสตร์ของ  นับเป็นที่มั่น และเป็นความมั่นใจ
              ประเทศไทยเรื่อยมาจนปัจจุบัน                  ให้กับประชาชนทั่วไปเสมอ ทั้งในแง่
                                                           ของการผลิตความรู้และบัณฑิตเพื่อรับใช้สังคม และการ
                                 ศาสตราจารย์พิเศษ  นรนิติ  สนับสนุนรัฐบาล-ประเทศไทย เพื่อรับมือกับวิกฤตการณ์ที่
                                 เ ศร ษ ฐ บุตร  นาย ก สภา  เกิดขึ้น
                                 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า
                                 ในปี 2564 ซึ่งธรรมศาสตร์  การร่วมแรงร่วมใจ ความอุตสาหะ และจิตใจที่เสียสละ ของ
                                 จะมีอายุ 87 ปี หากเทียบชีวิต  ประชาคมธรรมศาสตร์ทุกคน ทุกภาคส่วน จากการท�างานใน
                                 คนก็อยู่ในวัยที่ชรา  แต่ถ้าเป็น  ช่วงโควิด-19 เพื่อร่วมสู้วิกฤตชาติไปพร้อม ๆ กับประชาชน
                                 มหาวิทยาลัยกลับพบว่ายิ่งนาน   คนไทยทุกคน คือประจักษ์พยานที่ดีที่สุด ที่ยืนยันการด�ารง
                                 ก็จะยิ่งแกร่ง  ยิ่งเป็นที่ยอมรับ   อยู่ของอุดมการณ์ธรรมศาสตร์ ในฐานะอุดมการณ์ที่มีชีวิต
                                 โดยเฉพาะการท�างานของ      ซึ่งจะได้รับการสืบสานต่อไปอย่างไม่มีวันสิ้นสุด  รศ.เกศินี
              ธรรมศาสตร์ในสถานการณ์โควิด-19 ซึ่งเป็นสิ่งพิสูจน์ให้ทุกคน  กล่าวทิ้งท้าย
                                                                                      Co v er St or y  3
   1   2   3   4   5   6   7   8