Page 8 - จุลสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 54 ฉบับที่ 7 เดือนกรกฎาคม 2564
P. 8

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2564


                            อีกหนึ่งความภาคภูมิใจของธรรมศาสตร์





              ในปี 2564 เป็นอีกปี ที่ชื่อเสียงของคณาจารย์ธรรมศาสตร์ ได้รับการกล่าวขวัญถึงในฐานะผู้ที่อุทิศตนให้กับการวิจัยอย่าง
              ต่อเนื่องจนเกิดเป็นผลงานอันประจักษ์แก่สาธารณชน จนได้รับรางวัลการวิจัยแห่งชาติ : รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติประจ�าปี
              งบประมาณ 2564
              ในปี 2564 นี้ ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ได้มอบ
              รางวัล “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ” แก่ผู้ทรงเกียรติจากทั่วประเทศรวม 7 ท่าน โดย 2 ใน 7 ท่าน ได้แก่  ศ.ดร.เกศรา ณ บางช้าง
              แห่งวิทยาลัยแพทยศาสตร์นานาชาติจุฬาภรณ์ ซึ่งได้รับรางวัลในสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช  และ ศ.ดร.วัชระ งามจิตรเจริญ
              แห่งคณะศิลปศาสตร์ ได้รับรางวัลสาขาปรัชญา




















                                         นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจ�าปี 2564

                                                  สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช

                                              ‘ศ.ดร.เกศรา ณ บางช้าง’


                                 เภสัชวิทยาหัวแถว ระดับ 2% แรกของโลก



              ส�าหรับ “เภสัชวิทยา” ในประเทศไทย ศ.ดร.เกศรา ณ บางช้าง  มาลาเรียดื้อยามากที่สุดในโลก และสถานการณ์เปลี่ยนแปลง
              นับเป็นผู้มีบทบาทส�าคัญ ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่งผู้อ�านวยการ  ไปเรื่อย ๆ จึงไม่สามารถรอการผลิตยาใหม่ ๆ หรือวัคซีนได้
              ศูนย์วิจัยค้นคว้าและพัฒนายา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ  จ�าเป็นต้องอาศัยเภสัชวิทยาในการปรับปรุงประสิทธิภาพ
              ผู้อ�านวยการบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยแพทยศาสตร์นานาชาติ  ของยาที่มีใช้อยู่
              จุฬาภรณ์  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  เจ้าของรางวัลนักวิจัย
              ดีเด่นแห่งชาติ ปี 2564 สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช   “หลายกรณีบ่งชี้ว่าเป็นเชื้อดื้อยา แต่ในความจริงแล้วปัญหา
                                                           ไม่ได้อยู่ที่เชื้อดื้อยา แต่เกิดจากตัวผู้ป่วยเองที่อาจดูดซึมยา
              ศ.ดร.เกศรา เป็นหนึ่งในนักวิทยาศาสตร์ที่ถูกจัดอันดับอยู่  ได้ไม่ดี หรือร่างกายก�าจัดยาเร็วเกินไปจนท�าให้ระดับยาใน
              ใน “Top 2% World’s Scientists” จากการจัดล�าดับ  เม็ดเลือดแดงที่ติดเชื้อไม่เพียงพอฆ่าเชื้อ นักเภสัชวิทยาจึง
              นักวิจัยสาขาต่าง ๆ ปี 2020 โดยมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด   ต้องค้นหาปัจจัยต่าง ๆ เพื่อวิเคราะห์ให้ได้ว่าความล้มเหลว
              สหรัฐอเมริกา ซึ่งพิจารณาจากผลงานและการตีพิมพ์และ  จากการรักษานี้เกิดจากอะไร และปรับปรุงวิธีการใช้ยาให้
              การอ้างอิงผลงานวิจัยในวารสารวิชาการ          ถูกต้อง” ศ.ดร.เกศรา ระบุ

              หนึ่งในประสบการณ์ส�าคัญของ ศ.ดร.เกศรา คือการจัดการกับ   ศ.ดร.เกศรา กล่าวเพิ่มเติมว่า เมื่อผู้ป่วยแต่ละคนมีความ
              “โรคมาลาเรีย” ซึ่งเมื่อ 30 ปีก่อน ประเทศไทยมีปัญหาเชื้อ  แตกต่างกัน ดังนั้นจึงไม่สามารถใช้ยาในขนาดที่เท่ากันกับ
               8   NewsBites
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13