Page 9 - จุลสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 54 ฉบับที่ 7 เดือนกรกฎาคม 2564
P. 9

ทุกคนได้ จ�าเป็นต้องค�านึงถึงปัจจัยที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น   “แม้ว่าเภสัชวิทยาจะสามารถลงมือท�างานวิจัยได้ทุก ๆ โรค
              สภาพร่างกาย อายุ เพศ น�้าหนัก ภาวะการตั้งครรภ์ การมีโรค  แต่ถ้าเราไปมุ่งในโรคที่เป็นปัญหาหลักของโลกก็อาจไม่
              อื่น ๆ หรือการใช้ยาอื่น ๆ ร่วมด้วย และพันธุกรรม แม้กระทั่ง  สามารถแข่งขันกับงานวิจัยจากประเทศที่พัฒนาแล้วที่มีความ
              เชื้อชาติ ซึ่งล้วนแต่มีผลท�าให้การออกฤทธิ์ของยาแตกต่าง  พร้อมมากกว่าได้ นั่นคือเหตุผลที่ท�าให้ตั้งเป้าหมายงานวิจัย
              กันไป                                        ไปที่โรคที่เป็นปัญหาด้านสาธารณสุขของไทย และภูมิภาค
                                                           เขตร้อน อย่างเช่น โรคมาลาเรีย และมะเร็งท่อน�้าดี ซึ่งผลลัพธ์
              และเมื่อมาลาเรียเริ่มคลี่คลายลง “ศ.ดร.เกศรา” จึงได้ขยาย  จากงานวิจัย สามารถน�าไปใช้ได้จริงในผู้ป่วยอีกด้วย” ศ.ดร.
              เป้าหมายไปสู่เรื่อง  “โรคมะเร็งท่อน�้าดี” ซึ่งประเทศไทยมี  เกศรา กล่าวทิ้งท้าย
              อุบัติการณ์การเกิดสูงที่สุดในโลก โดยเฉพาะในพื้นที่ภาค
              ตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน) ซึ่งมีพฤติกรรมการบริโภค
              อาหารที่ไม่ได้ปรุงให้สุก ที่ท�าจากปลาน�้าจืดเกล็ดขาว เช่น
              ปลาตะเพียน ปลากะสูบ ที่มักติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ


















                   นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจ�าปี 2564

                   สาขาปรัชญา

                   ‘ศ.ดร.วัชระ งามจิตรเจริญ’


                   พุทธปรัชญาบนสายธารความเปลี่ยนแปลง



              ภายใต้ความเปลี่ยนผ่านของสังคมและกาลเวลา น�ามาสู่  “เป็นหน้าที่ทางวิชาการที่ต้องศึกษาเพื่อให้พบรากที่ชัดเจน
              “ความไม่รู้” ของชาวพุทธในปัจจุบัน คือต้นทางของ  ของปัญหาและแนวทางการแก้ไข รวมทั้งต้องน�าค�าสอน
              การตีความค�าสอน-หลักธรรม ผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริง   เหล่านั้นมาใช้ในยุคปัจจุบันเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมให้ได้
              นั่นคือประเด็นที่ ศ.ดร.วัชระ งามจิตรเจริญ คณะศิลปศาสตร์   ทั้งหมดนี้ก็เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องในภาพรวมของชาวพุทธ”
              มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มุ่งแสวงหาทางออก
                                                           ศ.ดร.วัชระ กล่าวว่า องค์ความรู้ในพุทธศาสนาถือเป็นเนื้อหา
              ส�าหรับงานวิจัยของ “ศ.ดร.วัชระ” มีขอบเขตใน 3 มิติ ได้แก่   อย่างหนึ่งทางวิชาการที่ทั่วโลกให้ความสนใจ ถือเป็นข้อเท็จจริง
              1. ค�าสอนหรือหลักธรรม 2. การน�าหลักธรรมมาประยุกต์ใช้  อย่างหนึ่งในสังคม ซึ่งโดยหลักการแล้วไม่ว่าจะเป็น
              ในสังคมปัจจุบัน 3. การปฏิรูปพัฒนาและแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับ  พระภิกษุ นักบวช คฤหัสถ์ หรือชาวบ้านก็สามารถศึกษาได้
              คณะสงฆ์
                                                           “แต่ในอีกมุมหนึ่ง การศึกษาโดยพระภิกษุซึ่งถือว่าเป็นสมาชิก
              ส�าหรับเหตุผลที่ท�าให้  “ศ.ดร.วัชระ” เลือกที่จะท�างานหนัก  อยู่ในองค์กรสงฆ์ หากท่านศึกษาและวิพากษ์วิจารณ์ด้วย
              เรื่องพุทธปรัชญาจนได้รับรางวัลอันทรงเกียรติระดับชาติ  ค�าพูดที่รุนแรงเกินไป  หรือกระทบคณะสงฆ์ ก็อาจได้รับผล
              ในครั้งนี้ เป็นเพราะมองเห็นว่า  นอกจากประเด็นความไม่  กระทบต่อชีวิตความเป็นพระของท่านได้ หรือหากผู้บริหาร
              ชัดเจน-การตีความหรือความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนในค�าสอน  คณะสงฆ์ไม่เห็นด้วย ก็อาจมีปัญหาเรื่องความสัมพันธ์และ
              และในคัมภีร์แล้ว ยังพบว่าด้วยค�าสอนที่มีมาอย่างยาวนาน  การอยู่ร่วมกันในองค์กรสงฆ์ แต่จริงๆ หากเรามองในแง่การ
              เกิน 2,500 ปี ท�าให้ยุคปัจจุบันไม่เข้าใจว่าจะน�าค�าสอนมา  พัฒนา เป็นการติเพื่อก่อ โดยหลักการแล้วก็ไม่น่าจะมีปัญหา
              ปรับใช้อย่างไร รวมถึง “คณะสงฆ์” เอง ทุกวันนี้ก็มีปัญหา  อะไร” ศ.ดร.วัชระ กล่าวทิ้งท้าย
              หลายด้านที่จ�าเป็นต้องปฏิรูป เช่น สมณศักดิ์ ซึ่งถูกวิพากษ์
              วิจารณ์ว่าท�าให้เกิดข้อเสียหลายอย่าง
                                                                                       NewsBites   9
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14