Page 5 - จุลสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 54 ฉบับที่ 11 เดือนพฤศจิกายน 2564
P. 5

“เรื่องท้องในวัยเรียน เราท�าร่วมกับดาวเดือนของ  โดยต�าแหน่งและรางวัลเหล่านี้ช่วยให้เราใช้เป็นภาพลักษณ์
              มหาวิทยาลัย ท�าจนเป็นรัศมีวงกว้าง ขยายใหญ่ขึ้น และได้  เป็นสัญลักษณ์ในการพูดถึงเรื่องความเสมอภาคทางเพศ
              จับมือร่วมกับ UN Women พูดถึงเรื่องของสิทธิสตรีและ  ช่วยเปลี่ยนแปลงสังคมได้” บัซซี่ ระบุ
              แรงงานข้ามชาติ  ตรงนี้ท�าให้นักศึกษาเห็นภาพว่าโลกไป
              ถึงไหนแล้ว ฟีดแบ็กค่อนข้างดี พัฒนาวงกว้างขึ้นในแง่ของ  แม้ว่าการขับเคลื่อนที่ผ่านมาจะท�าให้สถานการณ์การคุกคาม
              ความคิดการให้ความรู้  สื่อต่างชาติให้ความสนใจ  น�าไปสู่  ทางเพศ และความเสมอภาคทางเพศดีขึ้น แต่ปัญหายังไม่
              การประกาศปฏิญญาความร่วมมือเรื่องความเสมอภาคทางเพศ  หมดไป ทัศนคติชายเป็นใหญ่-ผู้หญิงต้องพึ่งพาผู้ชายยังคง
              และต่อต้านการถูกคุกคามทางเพศ” บัซซี่ เล่า    มีอยู่ “บัซซี่” มองว่า จ�าเป็นต้องมีการท�างานที่ต่อเนื่องและ
                                                           สม�่าเสมอ  จึงเตรียมส่งไม้ต่อให้เด็กรุ่นใหม่เข้ามาสานต่อ
              จุดเริ่มต้นของกลุ่ม TU Changemaker มาจากนักศึกษา  ภารกิจในระดับมหาวิทยาลัย พร้อมตั้งเป้าขยายการรับรู้ให้
              กลุ่มเล็ก ๆ ที่มีใจอยากท�างาน อยากเปลี่ยนแปลงสังคม และ  เป็นวงกว้างมากขึ้น
              เริ่มขยายวงไปเรื่อย ๆ จนปัจจุบันมีผู้เข้าร่วมแล้ว 173 ราย
              แม้ปัจจุบันจะยังขับเคลื่อนแค่ในระดับมหาวิทยาลัย แต่จุดมุ่งหมาย  “เด็กรุ่นใหม่มีความคิดเป็นของตัวเอง ในฐานะรุ่นพี่เราต้อง
              สูงสุดของกลุ่ม คือการท�างานในระดับนานาชาติ   ให้โอกาสเค้าได้คิด-ได้พูด ข้อเสียของเด็กรุ่นใหม่คือท�าอะไร
                                                           ไวเกิน ไม่ฟัง ชอบเถียง แต่ข้อดีก็คือเขามีความคิดที่ดี ถ้าให้
              “บัซซี่” พูดถึงจุดเริ่มต้นในการขับเคลื่อนเพื่อสร้าง  เขาได้มีเวทีได้พูด ได้เสนอไอเดีย แล้วเราน�ามาพัฒนาต่อก็จะ
              ความเปลี่ยนแปลงสังคมว่า เกิดจากสภาพแวดล้อมรอบตัว  ช่วยกันเปลี่ยนแปลงสังคมได้” บัซซี่ เชื่อเช่นนั้น
              ในวัยเด็กที่ได้เห็นความรุนแรงและการใช้ก�าลังของเพศชาย
              บ่อยครั้ง แต่ส่วนตัวโชคดีที่ในครอบครัวไม่มีสิ่งเหล่านั้น จึง  ส�าหรับปัญหาการถูกคุกคามทางเพศและความเสมอภาคทางเพศ
              อยากให้เพื่อน ๆ หรือเด็กรุ่นเดียวกับเราได้รับความโชคดี  ซึ่งเป็นเรื่องที่ยังเป็นปัญหาอยู่ในสังคม “บัซซี่” มองว่า
              เหล่านี้ไปด้วย                               ในวันนี้ยังมีคนผลักดันน้อยอยู่ อยากให้เด็กรุ่นใหม่เห็นถึง
                                                           ปัญหานี้และร่วมกันแก้ไขปัญหา
              “เราเริ่มต้นจากไม่รู้อะไร ค่อย ๆ ขยับขยาย จนได้มีโอกาส
              เป็นกระบอกเสียงของนักศึกษาคือเป็นโฆษกแห่งมหาวิทยาลัย  “อย่ามัวเสียเวลาทะเลาะกันเอง สิ่งที่เราท�าคือจับมือแล้ว
              ธรรมศาสตร์ และได้มีโอกาสเป็นอุปนายกองค์การนักศึกษา  เดินไปด้วยกัน แก้ไขปัญหาไปด้วยกัน นี่คือสิ่งที่ประเทศไทย
              มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้เป็นหนึ่งในคณะกรรมการส่งเสริม  และทุกคนควรค�านึงถึง” บัซซี่-ศิวกรณ์ ทัศนศร กล่าวทิ้งท้าย
              ความปลอดภัยและความเข้าใจทางเพศ และยังเคยได้รับ
              รางวัล Equity Award 2020 จากองค์การสหประชาชาติ (UN)





































                                                                                      Co v er St or y  5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10