Page 9 - จุลสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 54 ฉบับที่ 11 เดือนพฤศจิกายน 2564
P. 9

ดร.ทิวธวัฒ กล่าวอีกว่า ลักษณะของ “ดาราพิลาส” จะเป็น   อาจารย์ ดร.เจนจรีย์ อินอุทัย
              ไม้พุ่มขนาดเล็ก มีลักษณะดอกสวยงามคล้ายดวงดาวที่มี    ส า ขา วิชา เ ทคโ น โ ลยี
              6  หรือ  7 แฉก ขึ้นอยู่ตามพื้นป่าที่นักท่องเที่ยวสามารถ   ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์
              มองเห็นได้ระหว่างเส้นทางศึกษาธรรมชาติ มุ่งสู่น�้าตกหงาว   และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย
              โดยไม่ต้องเข้าไปในป่าลึก ซึ่งจะช่วยส่งเสริมการท่องเที่ยว  ธรรมศาสตร์ เผยคณะ
              ได้ในอนาคต ส�าหรับดาราพิลาสเป็นหนึ่งในสมาชิกพืชสกุล  ผู้วิจัยประเมินสถานภาพ
              ก�าลังเจ็ดช้างสารวงศ์เข็มหรือวงศ์กาแฟ (Rubiaceae)    ของกล้วยไม้ชนิดใหม่นี้ให้
              หลายชนิดในสกุลนี้เป็นพืชป่าสมุนไพรที่อุดมไปด้วย   เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยง
              สารส�าคัญทางพฤกษเคมี เช่น สารสโคโปเลตินที่พบใน  ขั้นวิกฤติต่อการสูญพันธุ์
              ปริมาณสูง ซึ่งจากจ�านวนกลีบดอกตามหลักชีววิทยาของพืช  (Critically Endangered)
              หรือพฤกษศาสตร์ จ�านวนกลีบดอกไม่ได้อยู่ในเกณฑ์ 4-5   ตามหลักเกณฑ์ของ IUCN เพราะปัจจุบันกล้วยไม้ชนิดนี้
              กลีบดอก  หรือเป็นทวีคูณของจ�านวนดังกล่าวตามลักษณะ  ถูกพบเพียงแค่ 4 ต้น จากพื้นที่เดียวเท่านั้น คือ เขาหลวง
              พืชใบเลี้ยงคู่ทั่วไป แต่ปรากฏให้เห็นอยู่ในป่าเขตร้อนของไทย  อุทยานแห่งชาติเขาหลวง จังหวัดนครศรีธรรมราช และถูกค้นพบ
                                                           เพียงครั้งเดียวจากการส�ารวจและเก็บตัวอย่างเมื่อปี 2018
              ยิ่งไปกว่านั้นอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ฯ ธรรมศาสตร์ ก็ได้  นอกจากนี้ การรายงานการค้นพบกล้วยไม้ชนิดใหม่ของโลก
              ค้นพบกล้วยไม้ชนิดใหม่ของโลกด้วยเช่นกัน นั่นคือ “อัญมณี  และชนิดใหม่ของประเทศไทยอย่างต่อเนื่องจากบริเวณเทือกเขา
              ศรีธรรมราช” หรือ  “Corybas papillatus Inuthai,   นครศรีธรรมราช แสดงให้เห็นว่าภาคใต้เป็นภูมิภาคส�าคัญ
              Chantanaorr. & Suddee” ที่อุทยานแห่งชาติเขาหลวง   ในแง่ความหลากหลายของกล้วยไม้ในประเทศไทยอีกด้วย
              จังหวัดนครศรีธรรมราช การค้นพบสิ่งใหม่ ๆ บนโลก มีผล
              มาจากปัจจัยหลาย ๆ อย่าง ขึ้นอยู่กับว่าสิ่งที่เราค้นพบนั้น
              คืออะไร การค้นพบในครั้งนี้ เป็นการค้นพบ “กล้วยไม้” อีก
              หนึ่งพรรณไม้ที่คนให้ความนิยมปลูกประดับสวน มีสีสัน และ
              ลักษณะของดอกที่สวยงาม

              งานวิจัยนี้เป็นการค้นพบกล้วยไม้ชนิดใหม่ของโลกในสกุล
              “เอื้องอัญมณี” (Corybas Salisb.) โดยมี อาจารย์
              ดร.เจนจรีย์ อินอุทัย สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
              คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
              เป็นหนึ่งในทีมวิจัย ร่วมกับ รศ.ดร.สหัช จันทนาอรพินท์ สาขา
              วิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
              สงขลานครินทร์ ดร.สมราน สุดดี กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้
              ส�านักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ
              สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ดร.นัยนา เทศนา กลุ่มงานพฤกษศาสตร์
              ป่าไม้ ส�านักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช  กรมอุทยาน
              แห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช นายมานพ ผู้พัฒน์ กลุ่มงาน
              พฤกษศาสตร์ป่าไม้ ส�านักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช
              กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช และนายวิทวัส
              เขียวบาง ส่วนเศรษฐกิจป่าไม้ กรมป่าไม้ โดยได้รับการตีพิมพ์
              และเผยแพร่ในวารสาร PhytoKeys

              โดยชื่อ Corybas papillatus ได้ถูกตั้งตามลักษณะของ
              ปุ่ม (papillae) ที่ปรากฏบริเวณครึ่งบนทางด้านหลังของ
              กลีบเลี้ยงบน (dorsal sepal) โดยกล้วยไม้ชนิดนี้มีความ
              คล้ายคลึงกับ Corybas villosus J. Dransf. & Gord.
              Sm. และ Corybas ridleyanus Schltr. อย่างไรก็ตาม
              C. papillatus แตกต่างจากกล้วยไม้ทั้ง 2 ชนิดข้างต้น
              ตรงบริเวณฐานของกลีบเลี้ยงด้านข้างเชื่อมติดกับกลีบดอก
              ด้านข้างอีกทั้ง C. villosus ด้านหลังของกลีบเลี้ยงบน
              มีลักษณะเป็นสัน ส่วน C. ridleyanus จะมีลักษณะของ
              ปลายกลีบเลี้ยงบนแบบปลายตัด ซึ่งแตกต่างจากกล้วยไม้
              ชนิดใหม่อย่างชัดเจน




                                                                                       NewsBites   9
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14