Page 6 - จุลสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 54 ฉบับที่ 10 เดือนตุลาคม 2564
P. 6

ย้อมสี ‘อสุจิ’ ด้วยสารสกัดข้าวเหนียวด�า


                           นวัตกรรมแก้ปัญหาส�าหรับ ‘ผู้มีบุตรยาก’






              การมีบุตรยากถือเป็นปัญหาแห่งยุคสมัย ด้วยเงื่อนไข  “หลักการคือเราใช้สารสกัดจากข้าวเหนียวด�าร่วมกับสาร
              ทางสังคม  เศรษฐานะ  พฤติกรรมเสี่ยงในชีวิตประจ�าวัน  เพิ่มประจุบวก เพื่อช่วยในการย้อมสีสารพันธุกรรมในส่วน
              สิ่งแวดล้อม ฯลฯ ท�าให้ปัญหาการมีบุตรยาก ยิ่งยากขึ้นไปอีก  นิวเคลียสของเซลล์” ผศ.ดร.ฌลณต อธิบาย
              ถ้าดูจากสถิติของประชากรในปัจจุบัน จะเห็นว่าอัตราการ
              เกิดน้อยลงอย่างเห็นได้ชัด สาเหตุก็มาจากหลายปัจจัย เช่น   ผศ.ดร.ฌลณต กล่าว
              ปัจจัยทางด้านสังคม ดื่มเหล้า สูบบุหรี่ หรือมีกิจกรรมที่ท�าให้  ว่า การย้อมสีอสุจิเพื่อดู
              ประสิทธิภาพในการมีบุตรลดน้อยลง รวมไปถึงการมีบุตรใน  ความสมบูรณ์ของอสุจินั้น
              ช่วงอายุที่มากขึ้น หรือการแต่งงานที่ช้าลงกว่าในอดีต  ถือเป็นเกณฑ์ส�าคัญที่จะ
                                                           น�าไปสู่ขั้นตอนการรักษา
              “ผู้หญิงจะมีช่วงอายุที่มีผลต่อการมีบุตร นั่นคือหากเกิน 35 ปี  ที่ตรงจุด ซึ่งสอดรับกับ
              ไปแล้ว ก็จะถือว่ามีบุตรช้าไป โดยเพศหญิงที่เข้ารับ  นโยบายการแพทย์แม่นย�า
              การปรึกษาจากแพทย์ก็จะได้รีบการตรวจดูฮอร์โมน-รังไข่ ส่วน  และการใช้เทคโนโลยี
              เพศชาย สิ่งที่ส่งตรวจง่ายที่สุดก็คือน�้าอสุจิ” ผศ.ดร.ฌลณต   การเจริญพันธุ์เพื่อช่วย
              เกษตร อาจารย์ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ คณะสหเวชศาสตร์  แก้ปัญหาการมีบุตรยาก
              มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระบุ                   รูปร่างอสุจิจะเป็นตัวบ่งชี้
                                                           ได้ว่ามีความพร้อมที่จะมีบุตรหรือไม่ จะมีบุตรง่ายหรือ
              ส�าหรับการตรวจอสุจิ ขณะนี้ประเทศไทยมีความก้าวหน้า  ยาก ซึ่งในอดีตจะต้องอาศัยสีสังเคราะห์ที่ต้องน�าเข้าจาก
              ในระดับที่ทั่วโลกต้องจับตามอง โดยทีมนักวิจัยจากคณะ  ต่างประเทศเท่านั้น ถึงจะย้อมให้เห็นโครงสร้างของอสุจิทั้งส่วนหัว
              สหเวชศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ได้คิดค้นเทคนิค “การย้อมสีอสุจิ  ส่วนกลาง และส่วนหางได้อย่างชัดเจน แต่ปัจจุบันธรรมศาสตร์
              ด้วยสารสกัดข้าวเหนียวด�า”  เพื่อประเมินรูปร่าง  สามารถคิดค้นสีทดแทนได้ส�าเร็จ และยังมีประสิทธิภาพ
              -ความสมบูรณ์ของอสุจิ พร้อมทั้งประเมินสัดส่วนอสุจิที่สมบูรณ์ว่า  ที่สูงมาก
              มีจ�านวนเท่าใด การคิดค้นดังกล่าวนี้ มีชื่อผลงานอย่างเป็น
              ทางการว่า “สีย้อม บีอาร์” ผลงานวิจัยของ ผศ.ดร.ฌลณต   ผศ.ดร.ฌลณต กล่าวเสริมว่า วัตถุประสงค์หลักของการ
              และ  ผศ.ดร.สิรินารถ  ชูเมียน  โดยล่าสุดเพิ่งคว้ารางวัล  ท�าวิจัยครั้งนี้ คือต้องการหาสีที่มีประสิทธิภาพสูงเทียบเท่า
              สภาวิจัยแห่งชาติระดับดี ประจ�าปี 2564 และได้รับ  สีสังเคราะห์ที่น�าเข้าจากต่างประเทศ โดยสีสังเคราะห์เหล่านั้น
              การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการต่างประเทศอีก 3 ฉบับ  ท�ามาจากเปลือกไม้ ซึ่งโรงพยาบาลไม่เพียงใช้ย้อมอสุจิ

               6   NewsBites
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11