Page 9 - จุลสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 54 ฉบับที่ 10 เดือนตุลาคม 2564
P. 9

ป้องกันโรค ที่สามารถพัฒนาขึ้นมาได้ภายในระยะเวลาเพียง   Problem-based learning และ Active learning
              1 ปีเท่านั้น จากปกติที่ต้องใช้เวลานานหลายปี โดยวัคซีนที่ใช้  เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อให้โอกาสนักศึกษาได้แก้ปัญหาจริง
              กันอยู่นั้นตั้งต้นมาจากองค์ความรู้จากงานวิจัยเดิมที่มีอยู่แล้ว   ผ่านการฝึกงาน โครงงานนักศึกษา และโครงการวิจัยของ
              เช่น โรคซาร์ส (SARS) และโรคเมอร์ส (MERS) เช่นเดียว  อาจารย์ เพื่อสร้างบุคคลที่มีคุณสมบัติของคนนวัตกรรม และ
              กับภาคนโยบายที่เปลี่ยนแปลงกระบวนการอนุมัติให้รวดเร็ว  เป็นทรัพยากรที่ส�าคัญของประเทศต่อไป
              ขึ้น โดยยังรักษาความปลอดภัยไว้ในระดับที่ยอมรับได้ ท�าให้
              การแก้ไขวิกฤตการณ์สามารถท�าได้อย่างรวดเร็ว   ด้าน รศ.ดร.วารี  กงประเวชนนท์
                                                           รองผู้อ�านวยการฝ่ายรับเข้าศึกษา
              ศ.ดร.พฤทธา กล่าวว่า ปัจจุบันเมื่อวิทยาการของโลก  และประชาสัมพันธ์ SIIT
              เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว มีความต้องการ พร้อมกับมี  กล่าวว่า SIIT นั้นมีเครือข่าย
              ปัญหาใหม่ ๆ เกิดขึ้นตลอดเวลา ฉะนั้นความสามารถของ  แ ละค วามร่วมมือ ทั้ง
              แรงงานที่ต้องการในตลาดก็เปลี่ยนแปลงตาม นั่นจะส่งผล  ในภาคอุตสาหกรรม และ
              ไปถึงความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ที่จะขึ้นอยู่  มหาวิทย าลัย ชั้น น� า ทั้ง
              กับความสามารถในการปรับตัวและเปลี่ยนแปลงของผู้คน  ในประเทศและต่างประเทศ
              ในสังคม และเป็นโจทย์ของรัฐบาลว่าจะท�าอย่างไรให้คนใน  ด้วยหลักสูตรที่สอดรับกับ
              สังคมมีความสามารถในการปรับตัวและเปลี่ยนแปลงได้  การเปลี่ยนแปลงของตลาด
              อย่างต่อเนื่อง                               ส่งผลสะท้อนผ่านตัวเลข
                                                           บัณฑิตจบใหม่ของ  SIIT  ที่ได้รับการจ้างงานในสาขา
              “การเรียนการสอนที่เน้นให้ความรู้อย่างเดียวจะไม่เพียงพอ  วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นอันดับหนึ่งในประเทศไทย
              อีกต่อไป เพราะองค์ความรู้เหล่านั้นสุดท้ายก็จะเก่าและหมด  เสมอมา
              อายุได้ ดังนั้นบทบาทของภาคการศึกษา คือการมอบชุด
              ความรู้ที่ใหม่ที่สุดในวันนี้ให้นักศึกษา แต่สิ่งส�าคัญกว่านั้น คือ  รศ.ดร.วารี  กล่าวว่า ภายใต้สถานการณ์โควิด-19 ที่อาจ
              การมอบความสามารถในการปรับตัวและเปลี่ยนแปลง เพื่อ  สร้างผลกระทบทางเศรษฐกิจ จึงนับเป็นโอกาสอันดีส�าหรับ
              ไปทดแทนชุดความรู้ที่จะหมดอายุในอนาคต” ศ.ดร.พฤทธา  นักเรียนผู้ที่สนใจเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรนานาชาติด้าน
              กล่าว                                        วิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี และการจัดการของ SIIT
                                                           เนื่องจากขณะนี้ทางสถาบันได้เปิดโครงการสอบชิงทุนส�าหรับ
              ศ.ดร.พฤทธา กล่าวอีกว่า โจทย์ส�าคัญคือการสร้างคน  นักเรียนที่มีผลการเรียนดีเลิศ (OSP) ปีการศึกษา 2565 ด้วย
              นวัตกรรม ที่จะต้องมีคุณสมบัติ 3 อย่าง คือ 1. มีความรู้ดี  รูปแบบทุนหลากหลายประเภท ที่ในปีนี้มีการมอบให้มากถึง
              2. มีความสามารถในการแก้ปัญหา 3. มีความคิดสร้างสรรค์   100 ทุน  เนื่องในโอกาสครบรอบ 30 ปีของ SIIT เพื่อเป็น
              ซึ่งการเรียนการสอนของ SIIT จะให้ความส�าคัญต่อการฝึกฝน  ส่วนหนึ่งในการสร้างสรรค์คนนวัตกรรม ที่จะมีส่วนในการ
              แก้ปัญหาของนักศึกษา โดยจัดให้มีการเรียนการสอนแบบ   ขับเคลื่อนและเปลี่ยนแปลงประเทศต่อไป


































                                                                                       NewsBites   9
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14