Page 8 - จุลสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 54 ฉบับที่ 8 เดือนสิงหาคม 2564
P. 8

ฉีดวัคซีนโควิด-19 แล้ว

              จ�าเป็นต้องตรวจภูมิคุ้มกันไหม






              กลายเป็นประเด็นที่ถูกตั้งค�าถามและเต็มไปด้วยข้อสงสัย  อย่างไรก็ดี ประโยชน์ของการตรวจภูมิคุ้มกันอีกอย่างหนึ่ง
              อย่างมาก ส�าหรับผู้ที่ฉีดวัคซีนโควิด-19 ไปแล้ว แต่ไม่มั่นใจว่า  ก็คือท�าให้เราทราบว่าเราเคยติดโควิด-19 มาแล้วหรือไม่
              “ภูมิคุ้มกัน” จะขึ้นหรือไม่ นั่นเพราะที่ผ่านมา ได้ปรากฏกรณี  เพราะการตรวจภูมิคุ้มกันสามารถวินิจฉัยการติดเชื้อได้
              ตัวอย่างให้เห็นแล้วว่า แม้จะได้รับวัคซีนครบ 2 โดส แต่ใน  โดยสามารถใช้ร่วมกับการตรวจวินิจฉัยด้วยวิธี real-time
              บางรายภูมิคุ้มกันกลับขึ้นเพียงครู่คราวหรือในระยะเวลาหนึ่ง  RT-PCR เพื่อเพิ่มความแม่นย�าให้มากขึ้น
              เท่านั้น ส่วนบางรายก็ขึ้นน้อยกว่าที่ควรจะเป็น ท่ามกลาง
              ความสับสนและความไม่มั่นใจ เกิดเป็นค�าถามดังขึ้นให้ได้ยิน  “โดยปกติแล้วร่างกายของเราจะไม่มีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสโควิด
              อย่างหนาหูว่า ที่สุดแล้ว จ�าเป็นต้อง “ตรวจภูมิ” หลังฉีดวัคซีน  เว้นแต่ผู้ที่เคยติดเชื้อหรือผู้ที่ได้รับวัคซีนโควิดมาแล้ว ฉะนั้น
              โควิด-19 หรือไม่ ?                           การตรวจตรงนี้จะท�าให้สามารถบ่งชี้ได้ว่า ผู้ที่เข้ารับ
                                                           การตรวจภูมิเคยติดเชื้อหรือเคยรับเชื้อมาแล้วหรือยัง”
              มีค�าอธิบายจาก ผศ.ดร.จีระพงษ์ ทะนงศักดิ์ศรีกุล ผู้ช่วยคณบดี  ผศ.ดร.จีระพงษ์ ระบุ
              ฝ่ายบริหาร และหัวหน้าห้องปฏิบัติการศูนย์ตรวจวินิจฉัย
              ระดับโมเลกุล ศูนย์บริการสุขภาพ คณะสหเวชศาสตร์  อย่างไรก็ดี การตรวจภูมิคุ้มกันในแง่หนึ่งจะช่วยให้ทราบว่าผู้ที่
              มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่จะมาไขข้อข้องใจในเรื่องนี้  ฉีดวัคซีนไปแล้วนั้นตอบสนองต่อวัคซีนดีหรือไม่ ตรงนี้ถือว่ามี
                                                           ประโยชน์ เพราะจะช่วยให้รู้ว่าหากวัคซีนยี่ห้อนี้ ไม่ตอบสนอง
                                  ผศ.ดร.จีระพงษ์  อธิบาย   กับร่างกายเรา ก็อาจจ�าเป็นต้องเปลี่ยนเป็นวัคซีนตัวใหม่แทน
                                  ว่า ความจริงแล้วการตรวจ
                                  ภูมิคุ้มกันหลังจากฉีดวัคซีน  ในส่วนของคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
                                  โควิด-19 อาจเป็นสิ่งที่ไม่จ�าเป็น  ปัจจุบันมีโครงการวิจัยที่ศึกษาเรื่องภูมิคุ้มกัน  (Antibody)
                                  ในห้วงเวลาปัจจุบัน เนื่องจาก  ในเลือดของผู้ที่หายป่วยจากโรคโควิด-19 อยู่แล้ว โดยได้
                                  วัคซีนที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเป็น  ท�าการวัดปริมาณและหารูปแบบการตอบสนองเพื่อน�าไปสู่
                                  วัคซีนผ่านการรับรองจาก   การพัฒนาชุดตรวจการติดเชื้อทางเลือกใหม่  ซึ่งการวิจัย
                                  องค์การอนามัยโลก (WHO)   ดังกล่าวจะต้องใช้ชุดตรวจที่เรียกว่าชุด Surrogate virus
                                  และตรวจสอบคุณภาพผ่านทาง  neutralization assay (cPass) จึงขยายมาสู่ภาคบริการ
                                  กระทรวงสาธารณสุขแล้ว
              ซึ่งตามข้อมูลที่เผยแพร่อยู่ในปัจจุบันนี้พบว่า ส่วนใหญ่หรือ  ส�าหรับ cPass เป็นชุดตรวจที่ส�านักงานคณะกรรมการ
              มากกว่า 90% ของผู้ฉีดวัคซีนโควิดจะมีภูมิคุ้มกัน อีกทั้งยัง  อาหารและยาสหรัฐอเมริกา (FDA) และส�านักงาน
              ไม่มีข้อมูลบ่งชี้ถึงระดับภูมิคุ้มกันที่สัมพันธ์กับการป้องกัน  คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ให้การรับรอง โดยชุดตรวจ
              การติดโรคโควิด-19 (Correlates of protection) ดังนั้น  ดังกล่าวสามารถน�ามาใช้ “ตรวจภูมิคุ้มกัน” หลังฉีดวัคซีน
              การตรวจภูมิคุ้มกันหลังรับวัคซีน ณ ปัจจุบันจึงเป็นเรื่องของ  โควิด-19 ได้ด้วย โดยปรกติแสดงผลเป็น % neutralization
              ความสบายใจของผู้เข้ารับการตรวจภูมิที่มีทุนทรัพย์เพียงพอ  แต่ทางคณะสหเวชฯ มธ. สามารถแปลงเป็นค่าในหน่วยสากล
                                                           IU/mL โดยได้ท�าการเทียบเคียงกับแอนติบอดีมาตรฐานสากล
                                                           ที่สั่งซื้อมาจากองค์การอนามัยโลก (WHO)

               8   NewsBites
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13