Page 7 - จุลสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 54 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม 2564
P. 7
การท�างาน เช่น การวางแผนการผลิต การจัดตารางการผลิต 5. เศรษฐกิจสีเขียว หมุนเวียน ชีวภาพ
โดยใช้เทคโนโลยีสร้างโรงงานจ�าลอง (Digital Twin) และได้
น�าเอาเทคโนโลยี IoT มาช่วยในการติดตามความก้าวหน้าใน น�าเสนองานวิจัยภายใต้ภาควิชาวิศวกรรมและเทคโนโลยี
การผลิต เพื่อช่วยให้ผู้บริหารเห็นการด�าเนินการแบบ Real เคมีชีวภาพ สอดคล้องตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
Time ทั้งโรงงาน และสามารถใช้ข้อมูลจาก IoT ที่สามารถ (Sustainable Development Goal) ขององค์การ
น�าไปใช้งานในโรงงานขนาด SME และขนาดใหญ่ ได้อย่าง สหประชาชาติ
รวดเร็ว
SIIT เป็นสถาบันที่เกิดจากความร่วมมือระหว่าง
3. เทคโนโลยีและนวัตกรรมวัสดุ และระบบการผลิตที่ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาพันธ์เศรษฐกิจญี่ปุ่น
มุ่งเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่ม (Keidanren) และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก่อตั้งเมื่อปี
1992 เพื่อสร้างวิศวกร นักเทคโนโลยี และนักวิจัยชั้นสูงที่
น�าเสนองานวิจัย การย้อนรอยวิศวกรรม และพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี เพื่อมาต่อยอดการพัฒนา
นวัตกรรมวัสดุ, การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิต และ ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย
ระบบการผลิตที่มุ่งเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่ม, การให้ค�าปรึกษา
เพื่อแก้ปัญหาในกระบวนการผลิต, การตรวจสอบสมบัติ กว่า 28 ปีที่ผ่านมา SIIT มีความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรม
โครงสร้างวัสดุ และรับรองสมบัติผลิตภัณฑ์, การฝึกอบรมเชิง อย่างสม�่าเสมอ โดย SIIT ได้จัดตั้งศูนย์และหน่วยวิจัย
ปฏิบัติการ ด้านเทคนิคและกระบวนการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ ศูนย์ให้ค�าปรึกษา ศูนย์อบรม เพื่อด�าเนินงานวิจัยพัฒนาประกอบ
และวัสดุ, การพัฒนากระบวนการ Lean production และ กับปฏิบัติงานให้ค�าปรึกษา แก้ปัญหา และจัดหลักสูตรอบรม
ระบบการผลิตที่มุ่งเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้กับภาคอุตสาหกรรมทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเป็นการ
น�าผลการศึกษาวิจัยของอาจารย์และนักศึกษาไปสู่การใช้
4. นวัตกรรมและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่ออุตสาหกรรม ประโยชน์จริงในภาคอุตสาหกรรม ยิ่งไปกว่านั้น สถาบันฯ
ใหม่ ได้น�าโจทย์จากอุตสาหกรรมมาสร้างผลงานวิจัยที่โดดเด่น
ทั้งระดับประเทศและระดับนานาชาติ และน�าองค์ความรู้
น�าเสนอการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมล�้าสมัยทางด้าน เหล่านั้นมาใช้ในการเรียนการสอนให้แก่นักศึกษา
คอมพิวเตอร์ เช่น ปัญญาประดิษฐ์ การเรียนรู้ด้วยตนเองของ ซึ่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ตระหนักถึงความส�าคัญ
คอมพิวเตอร์ (Machine Learning) และการบริการทาง ของการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพตรงกับความต้องการของ
ด้านต�าแหน่ง (Location Services) มาใช้ในการแก้ปัญหา ภาคอุตสาหกรรมเพื่อเป็นก�าลังส�าคัญในการขับเคลื่อน
ลดต้นทุน เพิ่มประสิทธิภาพ และเพิ่มมูลค่าทางอุตสาหกรรม ประเทศไทยต่อไป
NewsBites 7