Page 10 - จุลสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 54 ฉบับที่ 12 เดือนธันวาคม 2564
P. 10

การศึกษาคุณภาพชีวิตของเด็กเยาวชน


               และผู้สูงอายุในครอบครัวแหว่งกลาง






               มาท�าความรู้จักกับ นางสาวอุไรวรรณ รุ่งไหรัญ นักวิจัย  เราค้นพบว่า เด็กในครอบครัวแหว่งกลางตอนนี้เริ่มอยู่คนเดียว
               ช�านาญการ สถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย์   มากขึ้น สืบเนื่องจากปู่ย่าตายายที่เขาเลี้ยงดูมาเริ่มเสียชีวิต
               มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ได้รับรางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่   นี่คือข้อกังวลที่ทางงานวิจัยได้ส่งต่อไปยังท้องถิ่น และ
               ดีเด่นระดับคณะ ประเภทนักวิจัยหรือผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง  แนวโน้มก็เริ่มจะมีขึ้นเรื่อย ๆ เพราะว่าคุณปู่คุณย่าก็เริ่มจะ
               กับการวิจัย จากงานวิจัยหัวข้อ “การศึกษาคุณภาพชีวิตของ  70-90 ปี หรือเสียชีวิต แต่เด็กที่เริ่มเข้าสู่วัยรุ่น 12–18 ปี
               เด็กเยาวชนและผู้สูงอายุในครอบครัวแหว่งกลาง ในพื้นที่   ซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนของชีวิต เด็กเริ่มอยู่คนเดียว เมื่ออยู่
               ภาคตะวันออกเฉียงเหนือในประเทศไทย”            คนเดียวเกิดอะไร ก็จะเกิดเหตุที่ไม่พึงประสงค์หลายอย่าง
                                                            เช่น  เด็กเหล่านี้อาจจะโดนล่วงละเมิด มีพฤติกรรมเกเรก้าวร้าว
                                       นางสาวอุไรวรรณ กล่าวว่า  ติดสารเสพติดหรือรวมกลุ่มกันกับเพื่อนเพื่อท�าพฤติกรรมไม่ดี
                                       ครอบครัวแหว่งกลาง
                                       ก็คือครอบครัวที่ประกอบไป  นางสาวอุไรวรรณ กล่าวเสริมว่า สิ่งที่ส�าคัญที่สุดในตอนนี้คือ
                                       ด้วยปู่ย่าตายายท�าหน้าที่  เด็กที่อยู่ในครอบครัวแหว่งกลางนอกจากที่เราจะต้องกังวล
                                       เลี้ยงดูบุตรหลานแทนที่  เรื่องที่ในอนาคตเขาจะต้องอยู่คนเดียว เพราะว่าปู่ย่าตายาย
                                       พ่อแม่ เพราะพ่อแม่ที่แท้  เขาเสียชีวิต การแนะแนวการศึกษาก็เป็นสิ่งที่ส�าคัญมาก ๆ
                                       จริงอยู่ในวัยแรงงานต้อง  ว่าเขาจะเข้าถึงการศึกษาได้อย่างไร  เขาจะต้องไปทางไหน
                                       อพยพย้ายถิ่นหรือว่าหาย  สิ่งนี้บทบาทของโรงเรียนก็จะต้อง active มากขึ้น อาจจะ
                                       ออกไปจากครอบครัว     ต้องจัดกลุ่มว่าเป็นกลุ่มนักเรียนกลุ่มเปราะบางว่าเป็นอย่างไร
                                       จากข้อมูลการส�ารวจของ  เพราะว่าเราได้สัมภาษณ์กับเด็กหลายคน น้องไม่ทราบว่าจบ
                                       ส�านักงานสถิติแห่งชาติ  ม.3 หรือ จบ ม.6 แล้วจะไปต่อที่ไหนอย่างไรดี คือไม่มีใคร
               ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 เราพบว่า อัตราการเกิดขึ้นของครอบครัว  บอกเขาเลย ในส่วนนี้ อบต. ที่เราลงไปส�ารวจก็พบว่า เขาก็
               แหว่งกลางสูงขึ้นเรื่อย ๆ อย่างมีนัยส�าคัญโดยเฉพาะในพื้นที่  พยายามจะหารุ่นพี่มาถ่ายทอดแรงบันดาลใจให้น้องๆ
               ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเด็นนี้เป็นที่สนใจของทั้ง  ได้รู้ว่ามันจะต้องไปเรียนทางไหน ติดต่อทางไหน แล้ว
               ทางภาครัฐและภาคประชาสังคม ได้เป็นวาระที่ถูกบรรจุอยู่  เราก็พบว่า บางส่วนก็ได้ผลบางส่วนก็ไม่ได้ผล เราเลย
               ในแผนพัฒนาแห่งชาติฉบับที่ 12





               10   P erspectiv es
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15