Page 3 - จุลสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 54 ฉบับที่ 12 เดือนธันวาคม 2564
P. 3

ธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยแห่งการวิจัย

                   สร้างสรรค์นวัตกรรมสู่เป้าหมายมหาวิทยาลัยระดับสากล







               มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นสถาบันการศึกษาที่คณะ  เปลี่ยนแปลงไป มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ก็ต้องปรับตัว
               ผู้บริหารให้ความส�าคัญด้านวิชาการ วิจัยและนวัตกรรม   ไม่เป็นแต่เพียงผู้ก้าวทันเท่านั้น แต่ต้องเป็น “ผู้น�า” ที่
               เป็นอย่างมาก  ธรรมศาสตร์ก�าลังปรับเปลี่ยนสู่มิติใหม่   สามารถก�าหนดทิศทางการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมไทยและ
               เพื่อตอบโจทย์บริบทสังคมไทยและระดับสากล พัฒนาโครงสร้าง  นานาชาติ  ที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีนวัตกรรม
               หลักสูตรต่าง ๆ ที่ส่งเสริมคนรุ่นใหม่และเกิดการเรียนรู้ได้  จ�านวนมากที่ได้รับรางวัลและสร้างชื่อเสียงทั้งในระดับชาติ
               ตลอดชีวิต น�าเทคโนโลยีมาใช้ในระบบการเรียนการสอน  และนานาชาติ  ยกตัวอย่างเช่น  สิ่งประดิษฐ์นวัตกรรม
               และการวิจัยเพื่อยกระดับสู่มหาวิทยาลัยระดับแนวหน้า  ที่ช่วยแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
               ของโลก รวมถึงการส่งเสริมนโยบายที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ  โคโรนา 2019 ผลงานวิจัยและนวัตกรรมทางการเกษตร
               ในด้าน Research Innovation Entrepreneurship   เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรให้มีรายได้และสร้างมูลค่าเพิ่มให้
               เพื่อต่อยอดสู่การพัฒนาประเทศอย่างรอบด้าน     กับตัวสินค้าได้ยิ่งขึ้น  นวัตกรรมในการช่วยเหลือผู้สูงอายุ
                                                            ที่ปัจจุบันประเทศไทยก�าลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เป็นต้น
                                     ร ศ.เ กศินี วิฑูร ชา ติ
                                     อธิการบดีมหาวิทยาลัย   รศ.เกศินี กล่าวเสริมว่า นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยยังได้
                                     ธรรมศาสตร์  กล่าวว่า   ด�าเนินโครงการต่าง  ๆ  ที่ให้ทุนสนับสนุนแก่นักวิชาการ
                                     ท่ามกลางโจทย์ที่ท้าทาย  ชาวต่างประเทศที่มีชื่อเสียงและเป็นผู้ที่มีผลงานโดดเด่น
                                     ในยุคปัจจุบัน ไม่ว่าจะ  ในแต่ละสาขาวิชา เพื่อด�าเนินงานวิจัยร่วมกับอาจารย์
                                     เป็นการเปลี่ยนผ่านสู่โลก  และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และท�ากิจกรรม
                                     ยุคดิจิทัล การศึกษาข้าม  ด้านวิชาการที่มีคุณภาพระดับมาตรฐานสากล เพื่อยกระดับ
                                     พรมแดน การแข่งขันที่   งานวิจัยของมหาวิทยาลัย  ให้สามารถแข่งขันในระดับ
                                     สูงขึ้นในระบบการศึกษา   นานาชาติได้สูงขึ้น ซึ่งถือเป็นกลยุทธ์หนึ่งในการเสริมสร้าง
                                     การเปลี่ยนแปลงของโลก   ความแข็งแกร่งในด้านวิชาการและการวิจัย
                                     และโครงสร้างประชากรที่


                                                                                      Co v er St or y  3
   1   2   3   4   5   6   7   8